MCA เบื้องหลัง Field Marketing ร้อยล้านในวงการ FMCG กำลังจะ IPO
MCA เบื้องหลัง Field Marketing ร้อยล้านในวงการ FMCG กำลังจะ IPO
MCA x ลงทุนแมน
MCA x ลงทุนแมน
7 เดือนแรกของปี 2566 เม็ดเงินโฆษณาในประเทศไทยสูงถึง 65,093 ล้านบาท
กลุ่มธุรกิจที่จ่ายเม็ดเงินโฆษณามากที่สุด ช่วง 7 เดือนที่ผ่านมา คือ กลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม 10,368 ล้านบาท รองลงมาคือ กลุ่มผลิตภัณฑ์เพื่อความงามและผลิตภัณฑ์ดูแลร่างกาย (Personal Care & Cosmetic) 8,794 ล้านบาท
ถ้าจะมองเรื่องนี้ให้ใกล้ตัวเรามากขึ้น
เวลาเราไปเดินเล่นในศูนย์การค้า คงสังเกตเห็นบูทสินค้า, งาน Roadshow หรืออิเวนต์สินค้าต่าง ๆ
หลายครั้งก็ดึงดูดความสนใจของเรา จนต้องไปร่วมเล่นกิจกรรม หรือซื้อสินค้าต่าง ๆ แบบไม่รู้ตัว
เวลาเราไปเดินเล่นในศูนย์การค้า คงสังเกตเห็นบูทสินค้า, งาน Roadshow หรืออิเวนต์สินค้าต่าง ๆ
หลายครั้งก็ดึงดูดความสนใจของเรา จนต้องไปร่วมเล่นกิจกรรม หรือซื้อสินค้าต่าง ๆ แบบไม่รู้ตัว
ซึ่งหนึ่งธุรกิจที่อยู่เบื้องหลังกิจกรรมการตลาดภาคสนามเหล่านี้
ก็คือ บริษัท มาร์เก็ต คอนเน็กชั่นส์ เอเชีย จำกัด (มหาชน) หรือ MCA ที่กำลังจะ IPO เร็ว ๆ นี้
ก็คือ บริษัท มาร์เก็ต คอนเน็กชั่นส์ เอเชีย จำกัด (มหาชน) หรือ MCA ที่กำลังจะ IPO เร็ว ๆ นี้
แล้วความน่าสนใจของธุรกิจนี้ เป็นอย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
ปกติแล้ว วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ หนึ่งในช่วงเวลาที่ใช้เม็ดเงินโฆษณามากที่สุดคือ ช่วงแนะนำ หรือ Introduction
เพื่อสร้างฐานลูกค้า เพิ่มการรับรู้ของแบรนด์ หรือ Brand Awareness
เพื่อสร้างฐานลูกค้า เพิ่มการรับรู้ของแบรนด์ หรือ Brand Awareness
เมื่อฐานลูกค้าเริ่มขยายตัว ผลิตภัณฑ์แบรนด์ต่าง ๆ เข้าสู่ช่วงอื่นของวัฏจักรแล้ว
กลยุทธ์ทางการตลาดจะเปลี่ยนไป โดยเม็ดเงินโฆษณายังเข้ามาช่วยเสริมในด้านต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็นการสร้างความเชื่อมโยงกับกลุ่มผู้อุปโภคบริโภค หรือ Customer Engagement
ไปจนถึง การผลักดันยอดขายอย่างต่อเนื่อง หรือ Boost Sales
กลยุทธ์ทางการตลาดจะเปลี่ยนไป โดยเม็ดเงินโฆษณายังเข้ามาช่วยเสริมในด้านต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็นการสร้างความเชื่อมโยงกับกลุ่มผู้อุปโภคบริโภค หรือ Customer Engagement
ไปจนถึง การผลักดันยอดขายอย่างต่อเนื่อง หรือ Boost Sales
สะท้อนให้เห็นว่า กลยุทธ์และการดำเนินการทางการตลาด กลายเป็นสิ่งจำเป็นแทบจะทุกช่วงเวลาในวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
จุดนี้เองคือ โอกาสทางธุรกิจของ MCA ผู้เชี่ยวชาญในการวางแผนกลยุทธ์ทางการตลาด และผู้ให้บริการจัดกิจกรรมส่งเสริมทางการตลาดครบวงจร
ที่ปัจจุบันนี้ สามารถดำเนินธุรกิจให้เติบโต จนมีรายได้หลักร้อยล้านบาทต่อปี
ที่ปัจจุบันนี้ สามารถดำเนินธุรกิจให้เติบโต จนมีรายได้หลักร้อยล้านบาทต่อปี
ด้วยจุดเด่นของ MCA ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการตลาดภาคสนาม หรือ Field Marketing
และยังให้บริการครบวงจร ไปจนถึงบริการพนักงานแนะนำสินค้า หรือ Product Consultant และบริการพนักงานจัดเรียงสินค้า หรือ Merchandiser
และยังให้บริการครบวงจร ไปจนถึงบริการพนักงานแนะนำสินค้า หรือ Product Consultant และบริการพนักงานจัดเรียงสินค้า หรือ Merchandiser
ซึ่งทั้งหมดนี้ ก็เข้ามาช่วยส่งเสริมการขายสินค้า ณ จุดขายสินค้า ในแต่ละสถานที่จัดจำหน่าย
เพื่อกระตุ้นให้ผู้บริโภคมีความต้องการสินค้าเพิ่มขึ้นได้
เพื่อกระตุ้นให้ผู้บริโภคมีความต้องการสินค้าเพิ่มขึ้นได้
ทีนี้ ลองมาดูกันว่า 4 กลุ่มรายได้หลัก ของ MCA มาจากไหนบ้าง
1. รายได้จากกิจกรรมทางการตลาดและดิจิทัล
เช่น งานออกบูทสินค้าและงานออกโร้ดโชว์สินค้า, งานอิเวนต์แบบผสมผสาน (Hybrid Event) ทั้งแบบออนไลน์ (Virtual Event) และแบบออฟไลน์ (Offline Event)
เช่น งานออกบูทสินค้าและงานออกโร้ดโชว์สินค้า, งานอิเวนต์แบบผสมผสาน (Hybrid Event) ทั้งแบบออนไลน์ (Virtual Event) และแบบออฟไลน์ (Offline Event)
ฐานลูกค้าหลักคือ กลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม, กลุ่มของใช้ส่วนตัวและเวชภัณฑ์ และกลุ่มของใช้ในครัวเรือนและสำนักงาน
2. รายได้จากการบรรจุและจัดส่งสินค้า
ซึ่งเป็นบริการสนับสนุนต่อยอดจากกิจกรรมทางการตลาดต่าง ๆ
เช่น การบรรจุและจัดส่งสินค้าตัวอย่าง สินค้าทดลอง และสื่อประชาสัมพันธ์ไปยังสถานที่ที่ลูกค้ากำหนด
รวมถึงกิจกรรมการติดตั้ง และการรื้อถอนบูทแสดงสินค้า เป็นต้น
ซึ่งเป็นบริการสนับสนุนต่อยอดจากกิจกรรมทางการตลาดต่าง ๆ
เช่น การบรรจุและจัดส่งสินค้าตัวอย่าง สินค้าทดลอง และสื่อประชาสัมพันธ์ไปยังสถานที่ที่ลูกค้ากำหนด
รวมถึงกิจกรรมการติดตั้ง และการรื้อถอนบูทแสดงสินค้า เป็นต้น
ฐานลูกค้าหลักคือ กลุ่มของใช้ส่วนตัวและเวชภัณฑ์, กลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม และกลุ่มของใช้ในครัวเรือนและสำนักงาน
3. รายได้จากการบริการพนักงานแนะนำสินค้า
มีหน้าที่ในการแนะนำ ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับสินค้า แจกสินค้าตัวอย่าง สาธิตสินค้า รวมถึงนำเสนอรายการส่งเสริมการขาย
ฐานลูกค้าหลักคือ กลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม กลุ่มของใช้ส่วนตัวและเวชภัณฑ์
มีหน้าที่ในการแนะนำ ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับสินค้า แจกสินค้าตัวอย่าง สาธิตสินค้า รวมถึงนำเสนอรายการส่งเสริมการขาย
ฐานลูกค้าหลักคือ กลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม กลุ่มของใช้ส่วนตัวและเวชภัณฑ์
4. รายได้จากบริการจัดเรียงสินค้า
ช่วยดูแลความพร้อมของสินค้า ณ จุดขายหลากหลายรูปแบบตามสถานที่ต่าง ๆ
หน้าที่รับผิดชอบหลัก ก็เช่น การควบคุมจำนวนสินค้าหน้าร้านให้พร้อมต่อการขาย, การตรวจสอบอายุของสินค้า, การจัดเรียงสินค้าให้เป็นไปตามมาตรฐาน, การบริหารจัดการสินค้าคงเหลือในร้านค้า เป็นต้น
ช่วยดูแลความพร้อมของสินค้า ณ จุดขายหลากหลายรูปแบบตามสถานที่ต่าง ๆ
หน้าที่รับผิดชอบหลัก ก็เช่น การควบคุมจำนวนสินค้าหน้าร้านให้พร้อมต่อการขาย, การตรวจสอบอายุของสินค้า, การจัดเรียงสินค้าให้เป็นไปตามมาตรฐาน, การบริหารจัดการสินค้าคงเหลือในร้านค้า เป็นต้น
โดยมีจุดเด่นจากรูปแบบบริการจัดเรียงสินค้าแบบใช้ร่วมกัน หรือ Shared Merchandiser ที่พนักงานจัดเรียงสินค้า 1 คน จะทำหน้าที่ดูแลสินค้าจากลูกค้าหลากหลายเจ้า
ซึ่งบริการรูปแบบนี้ ได้รับผลตอบรับที่ดีมากจากฐานลูกค้าผู้ประกอบการ โดยเฉพาะธุรกิจในกลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม และกลุ่มของใช้ส่วนตัวและเวชภัณฑ์
ถึงตรงนี้ จะเห็นได้ว่า ฐานลูกค้าหลักของ MCA มักจะเป็นกลุ่ม Food & Beverage และกลุ่ม Personal Care
ซึ่งเป็นกลุ่มสินค้า FMCG หรือ Fast Moving Consumer Goods กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภคที่มีการซื้อขายรวดเร็ว
ซึ่งเป็นกลุ่มสินค้า FMCG หรือ Fast Moving Consumer Goods กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภคที่มีการซื้อขายรวดเร็ว
แน่นอนว่า เมื่อสินค้าหมุนเร็ว สิ่งที่ตามมาก็คือ การผลักดันทางการตลาดอยู่เป็นประจำ
โอกาสนี้เอง ที่สร้างการเติบโตให้กับธุรกิจ MCA
โอกาสนี้เอง ที่สร้างการเติบโตให้กับธุรกิจ MCA
และถึงแม้ว่า ในช่วงวิกฤติโรคระบาดที่ผ่านมา MCA จะได้รับผลกระทบจากวิกฤตินี้ ไม่ต่างไปจากธุรกิจอื่น ๆ
แต่ด้วยการปรับตัวตามสถานการณ์ และมองหาโอกาสใหม่ ๆ อยู่เสมอ ก็ทำให้ MCA ยังคงยืนหยัดดำเนินธุรกิจ และเติบโตมาได้อย่างต่อเนื่อง มาจนถึงปัจจุบัน
แต่ด้วยการปรับตัวตามสถานการณ์ และมองหาโอกาสใหม่ ๆ อยู่เสมอ ก็ทำให้ MCA ยังคงยืนหยัดดำเนินธุรกิจ และเติบโตมาได้อย่างต่อเนื่อง มาจนถึงปัจจุบัน
สังเกตได้จากผลประกอบการตลอด 3 ปีที่ผ่านมา
ปี 2563 รายได้รวม 236.28 ล้านบาท กำไรสุทธิ 0.73 ล้านบาท
ปี 2564 รายได้รวม 225.30 ล้านบาท กำไรสุทธิ 2.74 ล้านบาท
ปี 2565 รายได้รวม 372.77 ล้านบาท กำไรสุทธิ 16.51 ล้านบาท
และล่าสุด 6 เดือนแรกของปี 2566 MCA ทำกำไรสุทธิไปแล้ว 12.26 ล้านบาท
ปี 2564 รายได้รวม 225.30 ล้านบาท กำไรสุทธิ 2.74 ล้านบาท
ปี 2565 รายได้รวม 372.77 ล้านบาท กำไรสุทธิ 16.51 ล้านบาท
และล่าสุด 6 เดือนแรกของปี 2566 MCA ทำกำไรสุทธิไปแล้ว 12.26 ล้านบาท
สิ่งที่หลายคนอาจจะยังไม่รู้คือ ในอนาคต ธุรกิจผู้จัดจำหน่ายสินค้าหรือ Distributor กำลังจะกลายเป็นธุรกิจใหม่ของ MCA
โดยไตรมาส 3 ปี 2566 MCA เริ่มต้นโครงการนำร่องหรือ Pilot Project ไปแล้ว 2 โครงการ
เป็นบริการรูปแบบ Principal ซึ่งดำเนินการเสมือนเป็นเจ้าของสินค้าเอง และสามารถบริหารจัดการ
รวมถึงการสร้างผลกำไรตามยอดขายสินค้าได้
เป็นบริการรูปแบบ Principal ซึ่งดำเนินการเสมือนเป็นเจ้าของสินค้าเอง และสามารถบริหารจัดการ
รวมถึงการสร้างผลกำไรตามยอดขายสินค้าได้
ที่สำคัญ ธุรกิจใหม่นี้ MCA เชื่อว่าจะสามารถ Scale Up ขยายธุรกิจให้เติบโต ด้วยทรัพยากรรูปแบบเดิมได้
ซึ่งเป้าหมายที่วางไว้ คือ การสร้างยอดขายสินค้าที่เพิ่มขึ้น
ภายใต้การประหยัดต่อขนาด (Economies of Scale) ที่มีประสิทธิภาพในอนาคต นั่นเอง..
ภายใต้การประหยัดต่อขนาด (Economies of Scale) ที่มีประสิทธิภาพในอนาคต นั่นเอง..