HOME
ลงทุนแมน101
ลงทุนตูน
บริษัทไทย
เศรษฐกิจ
แนวคิดการลงทุน
บริษัทต่างประเทศ
ประวัติศาสตร์
ABOUT
CAREERS
DARK MODE
HOME
ลงทุนแมน101
ลงทุนตูน
บริษัทไทย
เศรษฐกิจ
แนวคิดการลงทุน
บริษัทต่างประเทศ
ประวัติศาสตร์
เทคโนโลยี
บุคคลที่น่าสนใจ
อินโฟกราฟิก
อื่นๆ
ARCHIVES
ABOUT
CAREERS
© 2024 Longtunman. All rights reserved.
Privacy Policy.
ตัวอย่าง ดีลควบรวม ระดับโลก ภูมิภาคอาเซียน และไทย
ที่ผ่านมา การเข้าซื้อ และ ควบรวมกิจการ เพิ่มขึ้นทั่วทุกมุมโลก โดยมีเหตุผลหลัก ๆ ก็เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีกัน ไปจนถึง การสร้างเสถียรภาพในการดำเนินกิจการ แล้วในมุมระดับโลก ภูมิภาค และ ไทย มีดีลควบรวม อะไรน่าสนใจบ้าง เราไปดูกัน
กรณีศึกษา Uber และ Waymo จากคู่แข่ง สู่พันธมิตรธุรกิจรถยนต์ไร้คนขับ
เรื่องราวนี้มีความเป็นมาอย่างไร ? ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
SPONSORED
Uber บริษัทที่มีคู่แข่งเกิดขึ้น เต็มไปหมด
ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า “Uber” เป็นผู้บุกเบิกธุรกิจแพลตฟอร์มเรียกรถ ที่เข้ามา DISRUPT รูปแบบบริการขนส่งให้เปลี่ยนแปลงไปตลอดกาล อย่างไรก็ตาม ธุรกิจที่พวกเขาคิดค้นขึ้น ได้กลายเป็นต้นแบบให้อีกหลายบริษัท พัฒนาแพลตฟอร์มในลักษณะเดียวกัน มาแข่งขันกับรุ่นพี่อย่างดุเดือด จนตอนนี้ Uber มีคู่แข่งอยู่เต็มไปหมด
การแข่งกันของ Lyft และ Uber ในสหรัฐอเมริกา
ในยุคปัจจุบันหากเราพูดถึงบริการเรียกรถ คนไทยหลายคนคงนึกถึง Uber และ Grab ตอนนี้ในตลาดอาเซียน Grab ซื้อกิจการ Uber ไปแล้ว แต่ในสหรัฐอเมริกา Uber ยังเป็นผู้นำตลาดอยู่ และคู่แข่งคนสำคัญของ Uber ที่นั่นจะมีอีกชื่อหนึ่งว่า “Lyft”
มูลค่าของบริษัทเรียกรถ ที่มูลค่าพอๆ กับบริษัทผลิตรถยนต์
มูลค่าของบริษัทเรียกรถ มูลค่าพอๆกับบริษัทผลิตรถยนต์
จนถึงวันนี้ Uber ยังไม่มีกำไร
หากพูดถึงบริษัทที่ถูกตั้งความหวังเอาไว้สูงมาก หนึ่งในนั้นคงหนีไม่พ้น Uber แม้ Uber ยังขาดทุนมหาศาล แต่ก็มีคนพร้อมเข้ามาลงทุนอยู่เสมอ เพราะเชื่อว่าในสักวัน ธุรกิจจะสามารถทำกำไรได้ อย่างไรก็ตาม ดูเหมือนว่าสิ่งที่รออยู่บนเส้นทางนี้ ไม่ใช่กลีบกุหลาบ แต่เป็นอุปสรรคขวากหนามมากมาย ที่สุดท้ายแล้ว บริษัทอาจจะไม่มีทางทำกำไรเลยก็ได้
Airbnb และ Uber ต้นแบบของ Sharing Economy
ถ้าเรามีสินทรัพย์ เช่น ที่พัก หรือ รถยนต์ ซึ่งแน่นอนว่า บางครั้งเราไม่ได้ใช้ตลอดเวลา และเราต้องการนำสินทรัพย์เหล่านี้ไปสร้างรายได้ ขณะที่อีกด้านหนึ่ง ก็มีผู้ที่ต้องการใช้สินทรัพย์ดังกล่าวเป็นบางเวลาเช่นกัน เมื่อเป็นแบบนี้จึงเกิดแนวคิดที่เรียกว่า Sharing Economy แล้วสิ่งนี้เป็นแนวโน้มที่สำคัญอย่างไร ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
กรณีศึกษา ทำไม Grab แพงขึ้น
รู้ไหมว่า Grab แอปพลิเคชันเรียกแท็กซี่น้องใหม่ ถูกประเมินมูลค่าที่ระดับ 3.4 แสนล้านบาท ใหญ่เทียบเท่าบริษัทเซ็นทรัลพัฒนา (CPN) ของไทยที่เปิดมานานกว่าหลายสิบปี และในปีที่ผ่านมา.. หนึ่งในดีลที่ถูกพูดถึงมากสุดคงหนีไม่พ้นการรวมกันระหว่าง Grab และ Uber ซึ่งหลังจากเหตุการณ์นี้ ผู้ใช้ Grab จะเห็นอัตราค่าโดยสารแพงขึ้น รวมทั้งโปรโมชันส่วนลดที่เคยได้ก็ลดน้อยลง เรื่องนี้มีความเป็นมาอย่างไร? ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
SPONSORED
มูลค่าของบริษัท Uber มากแค่ไหน?
มูลค่าของบริษัท Uber มากแค่ไหน?
Grab ซื้อกิจการ UBER ในอาเซียน
เช้านี้มีข่าวน่าตกใจ Grab ซื้อกิจการ UBER ในอาเซียน ทำไม UBER ถึงยอมขายกิจการ ที่ผ่านมาเกิดอะไรขึ้นกับ UBER ลงุทนแมนจะเล่าให้ฟัง
Load More