
ถอดแนวคิดนอกกรอบ CEO สมิติเวช ลงทุน 2,000 ล้านสร้างโรงพยาบาลเด็ก เพื่อให้เด็กโตไปไม่ป่วย
สมิติเวช x ลงทุนแมน
“การรักษาโรค อาจมีแพ้ มีชนะ แต่การทำให้คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีแต่ชนะและชนะ”
นี่คือประโยคสั้นๆ แต่ทรงพลังที่ นพ.ชัยรัตน์ ปัณฑุรอัมพร
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มโรงพยาบาลสมิติเวชและโรงพยาบาลบีเอ็นเอช
สะท้อนถึงความมุ่งมั่นในการปลุกปั้นโรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ที่ใช้งบลงทุนไปกว่า 2,000 ล้าน เพื่อบรรลุเป้าหมายสำคัญ คือ อยากเห็นเด็กโตไปไม่ป่วย
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มโรงพยาบาลสมิติเวชและโรงพยาบาลบีเอ็นเอช
สะท้อนถึงความมุ่งมั่นในการปลุกปั้นโรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ที่ใช้งบลงทุนไปกว่า 2,000 ล้าน เพื่อบรรลุเป้าหมายสำคัญ คือ อยากเห็นเด็กโตไปไม่ป่วย
หลายคนฟังแล้ว อาจจะตั้งคำถามในใจว่า ถ้าเด็กโตไปไม่ป่วย แล้วใครจะมาใช้บริการโรงพยาบาล ?
แต่สำหรับนพ.ชัยรัตน์ กลับมองต่างมุมอย่างน่าสนใจว่า
แต่สำหรับนพ.ชัยรัตน์ กลับมองต่างมุมอย่างน่าสนใจว่า
“หากเด็กไม่ป่วยก็จะทำให้ Healthcare Cost โดยรวมของประเทศลดลง
และเมื่อผู้คนมีสุขภาพดีขึ้น ก็จะนำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดี มีพลังสร้างสรรค์เศรษฐกิจให้ดีขึ้น
และเมื่อผู้คนมีสุขภาพดีขึ้น ก็จะนำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดี มีพลังสร้างสรรค์เศรษฐกิจให้ดีขึ้น
ผมคิดว่าถ้าผู้บริหารโรงพยาบาล ยังมองว่า ทำโรงพยาบาลแล้ว ต้องให้มีคนไข้มาใช้บริการมากๆ
เพื่อให้โรงพยาบาลมีตัวเลขผลประกอบการที่ดี
แสดงว่า เขากำลังบริหาร Organization of Success หรือ องค์กรแห่งความสำเร็จ
เพื่อให้โรงพยาบาลมีตัวเลขผลประกอบการที่ดี
แสดงว่า เขากำลังบริหาร Organization of Success หรือ องค์กรแห่งความสำเร็จ
แต่สิ่งที่เราทำ คือ การเป็น Organization of Value หรือองค์กรแห่งคุณค่า
ที่พร้อมสร้างคุณค่าที่ยั่งยืนสร้างชีวิตที่ดีกว่าเก่าแก่ทุก Stakeholder
ซึ่งผมมองว่า คุณค่าที่กลับมามันล้ำลึกกว่าการที่มองมุมการรักษาเพียงอย่างเดียว
ที่พร้อมสร้างคุณค่าที่ยั่งยืนสร้างชีวิตที่ดีกว่าเก่าแก่ทุก Stakeholder
ซึ่งผมมองว่า คุณค่าที่กลับมามันล้ำลึกกว่าการที่มองมุมการรักษาเพียงอย่างเดียว
จากความมุ่งมั่นนี้เอง ทำให้ นพ.ชัยรัตน์ ไม่ลังเล ที่จะก่อตั้งโรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
โดยแยกเป็นอาคารเด็กโดยเฉพาะ ในบริเวณของโรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์เดิม
โดยแยกเป็นอาคารเด็กโดยเฉพาะ ในบริเวณของโรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์เดิม
แถมยังคิดนอกกรอบด้วยการออกแบบให้โรงพยาบาลเด็กแห่งนี้เป็นมากกว่าโรงพยาบาล
แต่เป็นโรงพยาบาลแห่งอนาคต ที่สมาร์ตในทุกมิติ ในแบบที่หลายคนคาดไม่ถึง
“ด้วยประสบการณ์และจุดแข็งของการเป็นโรงพยาบาลเด็ก
ที่มีแพทย์เฉพาะทางมากที่สุดกว่า 100 ราย โดยเฉพาะเรื่องของโรครักษายาก โรคซับซ้อน
จนได้ชื่อว่าศูนย์แห่งความเป็นเลิศ (COE-Center of Excellence)
แต่เป็นโรงพยาบาลแห่งอนาคต ที่สมาร์ตในทุกมิติ ในแบบที่หลายคนคาดไม่ถึง
“ด้วยประสบการณ์และจุดแข็งของการเป็นโรงพยาบาลเด็ก
ที่มีแพทย์เฉพาะทางมากที่สุดกว่า 100 ราย โดยเฉพาะเรื่องของโรครักษายาก โรคซับซ้อน
จนได้ชื่อว่าศูนย์แห่งความเป็นเลิศ (COE-Center of Excellence)
จริงๆแล้ว ถ้าเราคิดจะทำโรงพยาบาลเด็กสักแห่ง ไม่ใช่เรื่องยากเลย
แต่เพราะโจทย์เรา คือ การเป็นโรงพยาบาลแห่งอนาคต เราเลยต้องคิดต่าง
มองภาพโดยใช้สายตาของยักษ์ ที่นอกจากจะต้องเห็นภาพใหญ่ ยังต้องมองให้ไกล
เห็นภาพอนาคตอีก 5 ปีข้างหน้า ว่าวงการเฮลท์แคร์จะเป็นอย่างไร
แต่เพราะโจทย์เรา คือ การเป็นโรงพยาบาลแห่งอนาคต เราเลยต้องคิดต่าง
มองภาพโดยใช้สายตาของยักษ์ ที่นอกจากจะต้องเห็นภาพใหญ่ ยังต้องมองให้ไกล
เห็นภาพอนาคตอีก 5 ปีข้างหน้า ว่าวงการเฮลท์แคร์จะเป็นอย่างไร
ดังนั้นนอกจากโรงพยาบาลจะยังคงจุดแข็งเรื่องศักยภาพภาพและความเชี่ยวชาญของทีมแพทย์
เรายังตั้งใจยกระดับประสบการณ์ของผู้มาใช้บริการแบบไร้รอยต่อ ด้วย Smart Healthcare Ecosystem”
เรายังตั้งใจยกระดับประสบการณ์ของผู้มาใช้บริการแบบไร้รอยต่อ ด้วย Smart Healthcare Ecosystem”
แน่นอนว่า ถ้าจะสร้างโรงพยาบาลที่ตอบโจทย์ผู้มาใช้บริการได้ในทุกมิติ
แทนที่จะคิดเองจากมุมมองของคนใน หรือ นำแนวคิดจากผู้บริหารมาต่อยอด ต้องตั้งต้นจากอินไซต์ของผู้มาใช้บริการ
แทนที่จะคิดเองจากมุมมองของคนใน หรือ นำแนวคิดจากผู้บริหารมาต่อยอด ต้องตั้งต้นจากอินไซต์ของผู้มาใช้บริการ
โดย 3 อินไซต์ที่พบว่าลูกค้ามองหาในโรงพยาบาลเด็กแห่งอนาคต
ได้แก่ 1.ความปลอดภัย 2. ความทันสมัย และ 3.ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
“เรื่องความปลอดภัย อันนี้แน่นอน เราต้องให้ความสำคัญเป็นอันดับหนึ่งอยู่แล้ว
แต่เรายังใส่ใจไปถึงรายละเอียดเล็กๆน้อยๆ เช่น
ได้แก่ 1.ความปลอดภัย 2. ความทันสมัย และ 3.ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
“เรื่องความปลอดภัย อันนี้แน่นอน เราต้องให้ความสำคัญเป็นอันดับหนึ่งอยู่แล้ว
แต่เรายังใส่ใจไปถึงรายละเอียดเล็กๆน้อยๆ เช่น
-การออกแบบระบบคัดกรองผู้ป่วยทางเดินหายใจ ผู้ป่วยติดเชื้อ แยกกับผู้รับบริการอื่นๆ
-ระบบควบคุมการหมุนเวียนอากาศเพื่อลดการติดเชื้อ
-การนำระบบไอทีต่างๆ มาช่วยลดความหนาแน่นของผู้ใช้บริการ
ลดเวลารอคิว พบแพทย์ และการจ่ายเงินให้สะดวก รวดเร็ว
-ระบบควบคุมการหมุนเวียนอากาศเพื่อลดการติดเชื้อ
-การนำระบบไอทีต่างๆ มาช่วยลดความหนาแน่นของผู้ใช้บริการ
ลดเวลารอคิว พบแพทย์ และการจ่ายเงินให้สะดวก รวดเร็ว
ในเรื่องของความทันสมัย เรามีการนำเทคโนโลยีเข้ามาสร้างประสบการณ์ที่ไร้รอยต่อให้ผู้มาใช้บริการ ไม่ว่าจะเป็น
-การนำเอไอ มาช่วยประเมินค่าใช้จ่ายในการผ่าตัด
-มีแอปฯติดตามสถานการณ์ผ่าตัด และติดตามการรักษาระหว่างพักในโรงพยาบาล
- Smart ER ดูแลผู้ป่วยเด็กในภาวะฉุกเฉินและวิกฤติ สามารถสื่อสารแบบเรียลไทม์
ทำให้ทีมแพทย์สามารถเตรียมการรักษาได้ตั้งแต่ก่อนมาถึงโรงพยาบาล
-ห้องผ่าตัดไฮบริด ที่ใช้เทคโนโลยีที่ทำให้ X-ray ได้หลายระนาบ ลดการสัมผัสรังสี และ ผลข้างเคียงต่างๆ เป็นต้น
มาถึงในด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นอินไซต์ที่น่าสนใจว่า ผู้ใช้บริการโรงพยาบาลก็ให้ความสำคัญกับเรื่องนี้เช่นกัน
อาคารของโรงพยาบาลแห่งใหม่ จึงถูกออกแบบตามมาตรฐาน LEED ระดับ Gold
มีการใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ กระจกอัจฉริยะลดความร้อน และ ระบบกรองอากาศ PM2.5
-การนำเอไอ มาช่วยประเมินค่าใช้จ่ายในการผ่าตัด
-มีแอปฯติดตามสถานการณ์ผ่าตัด และติดตามการรักษาระหว่างพักในโรงพยาบาล
- Smart ER ดูแลผู้ป่วยเด็กในภาวะฉุกเฉินและวิกฤติ สามารถสื่อสารแบบเรียลไทม์
ทำให้ทีมแพทย์สามารถเตรียมการรักษาได้ตั้งแต่ก่อนมาถึงโรงพยาบาล
-ห้องผ่าตัดไฮบริด ที่ใช้เทคโนโลยีที่ทำให้ X-ray ได้หลายระนาบ ลดการสัมผัสรังสี และ ผลข้างเคียงต่างๆ เป็นต้น
มาถึงในด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นอินไซต์ที่น่าสนใจว่า ผู้ใช้บริการโรงพยาบาลก็ให้ความสำคัญกับเรื่องนี้เช่นกัน
อาคารของโรงพยาบาลแห่งใหม่ จึงถูกออกแบบตามมาตรฐาน LEED ระดับ Gold
มีการใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ กระจกอัจฉริยะลดความร้อน และ ระบบกรองอากาศ PM2.5
หลังจากเอาจุดแข็งและอินไซต์ของผู้มาใช้บริการเป็นตัวตั้งแล้ว
คำถามต่อมาคือ โรงพยาบาลแห่งนี้จะการตอบโจทย์ในเชิงคุณค่า หรือ ทำอย่างไรให้เด็กโตไปไม่ป่วย
คำตอบ คือ เน้นการป้องกันรักษาทุกมิติสุขภาพ
-Self-care ไม่ป่วยเริ่มต้นที่ตัวเอง ใช้ AI ประเมินสุขภาพ
-Early Care ไม่ป่วยป้องกันได้ด้วยโปรแกรม Early Detection และ Early Prediction
-Risk Care ไม่ป่วยเพราะรู้ทันก่อนเกิดโรคด้วย Risk Score Screening
และ Kidz Check ประเมินความรุนแรงของอาการจากที่บ้าน
หรือใช้บริการ Kids Telehealth พบแพทย์เฉพาะทางแบบเรียลไทม์
คำถามต่อมาคือ โรงพยาบาลแห่งนี้จะการตอบโจทย์ในเชิงคุณค่า หรือ ทำอย่างไรให้เด็กโตไปไม่ป่วย
คำตอบ คือ เน้นการป้องกันรักษาทุกมิติสุขภาพ
-Self-care ไม่ป่วยเริ่มต้นที่ตัวเอง ใช้ AI ประเมินสุขภาพ
-Early Care ไม่ป่วยป้องกันได้ด้วยโปรแกรม Early Detection และ Early Prediction
-Risk Care ไม่ป่วยเพราะรู้ทันก่อนเกิดโรคด้วย Risk Score Screening
และ Kidz Check ประเมินความรุนแรงของอาการจากที่บ้าน
หรือใช้บริการ Kids Telehealth พบแพทย์เฉพาะทางแบบเรียลไทม์
“อีกหนึ่งหัวใจสำคัญที่ขาดไม่ได้ คือ นอกจากโรงพยาบาลจะ Hi-Tech เพื่อยกระดับการรักษาและให้บริการแล้ว
ยังต้องมี Hi-Touch เพื่อสร้างคุณภาพของผู้ใช้บริการ
ยังต้องมี Hi-Touch เพื่อสร้างคุณภาพของผู้ใช้บริการ
แต่ที่สำคัญที่สุด คือ ต้องสร้าง Hi-Trust เท่าทันกับผู้ใช้บริการทั้งปัจจุบันและอนาคต
เพื่อให้ผู้ป่วยพึงพอใจ ไว้วางใจ และต้องการมาใช้บริการในอนาคต
เพื่อให้ผู้ป่วยพึงพอใจ ไว้วางใจ และต้องการมาใช้บริการในอนาคต
โดยที่ผ่านมา โรงพยาบาลสมิติเวชได้รับความไว้วางใจจากผู้บริโภคสูงถึง 98%
สะท้อนถึงความเชื่อมั่นในทีมแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ และโรงพยาบาลอย่างแท้จริง”
สะท้อนถึงความเชื่อมั่นในทีมแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ และโรงพยาบาลอย่างแท้จริง”
มาถึงตรงนี้ ถ้าถามว่า สมิติเวชทำทั้งหมดนี้ไปเพื่ออะไร ?
หรือ นี่คือส่วนหนึ่งของการวางกลยุทธ์ระยะยาว เพื่อสร้างฐานลูกค้าในอนาคต
นพ.ชัยรัตน์ ตอบอย่างน่าสนใจว่า “ตามหลักคิดอาจจะใช่ แต่สุดท้ายผลลัพธ์จะเป็นเช่นนั้นหรือไม่
ขึ้นอยู่กับว่า ตัวเราจะหมุนทันโลก ตอบโจทย์ Pain Point และความต้องการ ของผู้มาใช้บริการ
และทำให้เขายังยินดีที่จะอยู่กับเราในทุกช่วงอายุหรือไม่
หรือ นี่คือส่วนหนึ่งของการวางกลยุทธ์ระยะยาว เพื่อสร้างฐานลูกค้าในอนาคต
นพ.ชัยรัตน์ ตอบอย่างน่าสนใจว่า “ตามหลักคิดอาจจะใช่ แต่สุดท้ายผลลัพธ์จะเป็นเช่นนั้นหรือไม่
ขึ้นอยู่กับว่า ตัวเราจะหมุนทันโลก ตอบโจทย์ Pain Point และความต้องการ ของผู้มาใช้บริการ
และทำให้เขายังยินดีที่จะอยู่กับเราในทุกช่วงอายุหรือไม่
ดังนั้น นี่คือโจทย์ของโรงพยาบาลที่ต้องพัฒนาตัวเองตลอดเวลา
ให้ทันกับพฤติกรรมของคนรุ่นใหม่ที่เปลี่ยนเร็ว ต้องดิสรัปตัวเองตลอดเวลา”
ให้ทันกับพฤติกรรมของคนรุ่นใหม่ที่เปลี่ยนเร็ว ต้องดิสรัปตัวเองตลอดเวลา”
นอกจากนี้ นพ.ชัยรัตน์ ยังเห็นว่า หากแนวคิดนี้ถูกต้อง และมีผู้คนนำไปใช้ด้านธุรกิจ Health Care ย่อมเกิดคุณค่าแก่ประเทศชาติโดยรวม
สุดท้ายนี้ ถ้าถามว่า มาตรวัดความสำเร็จของการเดิมพันครั้งใหญ่นี้ คืออะไร
นพ.ชัยรัตน์ ยังย้ำว่า ตัววัดความสำเร็จ คือ ประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับทุก Stakeholder
นอกจากในมุมของผู้มาใช้บริการ ทีมแพทย์และเจ้าหน้าที่ก็ภูมิใจในการทำงานที่มีคุณค่า
นอกจากในมุมของผู้มาใช้บริการ ทีมแพทย์และเจ้าหน้าที่ก็ภูมิใจในการทำงานที่มีคุณค่า
“ผมเชื่อว่าถ้าลูกค้าแฮปปี้ องค์กรแฮปปี้ ตัวเลขก็ดี
เวลาจะทำอะไรก็ตามลูกค้าและเจ้าหน้าที่ต้องมาก่อน องค์กรต้องมาสุดท้าย
เวลาจะทำอะไรก็ตามลูกค้าและเจ้าหน้าที่ต้องมาก่อน องค์กรต้องมาสุดท้าย
เพราะการที่องค์กรที่จะยั่งยืนได้ ต้องเริ่มจากการทำให้ชีวิตทุกคนดีกว่าเดิม
ผู้นำสามารถสร้างแรงจูงใจให้ทุกคนเห็นเหมือนกัน แล้วไปลงเรือลำเดียวกันเพื่อไปสู่จุดหมาย
ผู้นำสามารถสร้างแรงจูงใจให้ทุกคนเห็นเหมือนกัน แล้วไปลงเรือลำเดียวกันเพื่อไปสู่จุดหมาย
ผมมองว่า การชนะด้วยกำลังคน เงินทุน ยุทโธปกรณ์เป็นเรื่องธรรมดา
แต่การชนะด้วยปัญญา การเอื้อประโยชน์ให้ทุกฝ่าย คือ ชัยชนะที่ยิ่งใหญ่”
แต่การชนะด้วยปัญญา การเอื้อประโยชน์ให้ทุกฝ่าย คือ ชัยชนะที่ยิ่งใหญ่”
เช่นเดียวกับ สิ่งที่สมิติเวชพยายามขับเคลื่อน คือ การดูแลเด็กให้โตไปไม่ป่วย
เพื่อทำให้ Healthcare Cost โดยรวมของประเทศลดลง
ซึ่งการดูแลเด็ก 90% ที่ยังไม่ป่วย ให้โตไปไม่ป่วย ย่อมสร้างคุณค่าสูงกว่าการดูแลเด็ก 10% ที่ป่วย
เพื่อทำให้ Healthcare Cost โดยรวมของประเทศลดลง
ซึ่งการดูแลเด็ก 90% ที่ยังไม่ป่วย ให้โตไปไม่ป่วย ย่อมสร้างคุณค่าสูงกว่าการดูแลเด็ก 10% ที่ป่วย
เพราะอย่าลืมว่า เด็กคืออนาคตของประเทศ
สิ่งที่เรามอบให้เขาเป็นต้นทุนได้ตั้งแต่วันนี้คือ สุขภาพที่ดี ซึ่งจะนำพาชีวิตที่ดีในอนาคต ดั่งคำว่า Health Bring Wealth
สิ่งที่เรามอบให้เขาเป็นต้นทุนได้ตั้งแต่วันนี้คือ สุขภาพที่ดี ซึ่งจะนำพาชีวิตที่ดีในอนาคต ดั่งคำว่า Health Bring Wealth