
Schneider จากผลิตอาวุธ สู่บริษัทระบบไฟฟ้า ชั้นนำโลก
Schneider จากผลิตอาวุธ สู่บริษัทระบบไฟฟ้า ชั้นนำโลก /โดย ลงทุนแมน
เคยสงสัยไหมว่า บริษัทที่มีอายุอยู่ได้ยาวนาน และยังคงยิ่งใหญ่ในปัจจุบัน ทำธุรกิจอะไร และทำมานานแค่ไหน ?
เคยสงสัยไหมว่า บริษัทที่มีอายุอยู่ได้ยาวนาน และยังคงยิ่งใหญ่ในปัจจุบัน ทำธุรกิจอะไร และทำมานานแค่ไหน ?
คำตอบแรก ๆ ที่หลายคนนึกถึง คงเป็นธุรกิจแบรนด์หรู ที่ชูจุดขายเรื่องของประวัติความเป็นมาอันยาวนานอย่าง
- Louis Vuitton อายุ 170 ปี
- Hermès อายุ 187 ปี
- Hermès อายุ 187 ปี
แต่รู้ไหมว่า มีบริษัทแห่งหนึ่งในฝรั่งเศส ที่ไม่ได้ทำธุรกิจเกี่ยวกับสินค้าแบรนด์หรู แต่มีอายุมากกว่าแบรนด์ที่ยกตัวอย่างมา
บริษัทนั้นคือ Schneider Electric ซึ่งมีอายุ 188 ปี..
และใหญ่เป็นอันดับที่ 5 ของฝรั่งเศส
และใหญ่เป็นอันดับที่ 5 ของฝรั่งเศส
Schneider Electric มีประวัติความเป็นมาอย่างไร ? ทำไมถึงอยู่ได้นานขนาดนี้ ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
ภาวะเงินเฟ้อ ตลาดผันผวนแบบนี้ ติดตามข่าวเศรษฐกิจแบบเน้น ๆ จากหลายเพจได้ใน Blockdit - คอนเทนต์แพลตฟอร์มที่มีผู้ใช้งานเป็นประจำ 2 ล้านคน ลองใช้ฟรี blockdit.com/download
╚═══════════╝
ย้อนกลับไปปี 1836 หรือ 188 ปีที่แล้ว 2 พี่น้อง คุณ Adolphe Schneider และคุณ Eugène Schneider ได้เห็นโอกาสในการเข้าซื้อกิจการเหมืองเหล็กแห่งหนึ่งที่กำลังล้มละลาย ในประเทศฝรั่งเศส
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
ภาวะเงินเฟ้อ ตลาดผันผวนแบบนี้ ติดตามข่าวเศรษฐกิจแบบเน้น ๆ จากหลายเพจได้ใน Blockdit - คอนเทนต์แพลตฟอร์มที่มีผู้ใช้งานเป็นประจำ 2 ล้านคน ลองใช้ฟรี blockdit.com/download
╚═══════════╝
ย้อนกลับไปปี 1836 หรือ 188 ปีที่แล้ว 2 พี่น้อง คุณ Adolphe Schneider และคุณ Eugène Schneider ได้เห็นโอกาสในการเข้าซื้อกิจการเหมืองเหล็กแห่งหนึ่งที่กำลังล้มละลาย ในประเทศฝรั่งเศส
ในยุคนั้นประเทศฝรั่งเศส เพิ่งเข้าสู่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม เหล็กเลยเป็นสินค้าที่มีความต้องการสูง เพราะถือเป็นวัตถุดิบสำคัญในการสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่กำลังเกิดขึ้น อย่างเช่น รางรถไฟ
ถึงแม้ในตอนนั้น Schneider จะรุ่งเรืองจากธุรกิจเหล็กเป็นอย่างมาก แต่บริษัทก็เห็นโอกาสในธุรกิจผลิตอาวุธ และรับเหมาก่อสร้าง
ซึ่งทั้ง 2 ธุรกิจนี้ก็กลายเป็นส่วนสำคัญที่สร้างความยิ่งใหญ่ให้กับบริษัท
เริ่มกันที่ธุรกิจผลิตอาวุธ..
ในยุคนั้น Schneider ถือเป็นบริษัทผลิตอาวุธที่ใหญ่เป็นอันดับต้น ๆ ของยุโรป และยังเป็นกำลังหลักสำคัญในการส่งอาวุธให้ฝรั่งเศส ตอนสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1
ในยุคนั้น Schneider ถือเป็นบริษัทผลิตอาวุธที่ใหญ่เป็นอันดับต้น ๆ ของยุโรป และยังเป็นกำลังหลักสำคัญในการส่งอาวุธให้ฝรั่งเศส ตอนสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1
ส่วนธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง ก็ได้รับการว่าจ้างจากทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในการสร้างสถาปัตยกรรม และโครงสร้างพื้นฐาน
ตัวอย่างเช่น อาร์เจนตินา และชิลี ที่ว่าจ้าง Schneider ให้สร้างสะพาน และสถานีรถไฟฟ้า
ซึ่งความสำเร็จตรงนี้ ก็ต่อยอดให้บริษัทเข้าซื้อธุรกิจอื่นในต่างประเทศ อย่างเช่น ธุรกิจพลังงานไฟฟ้าในสวิตเซอร์แลนด์
ต่อมาหลังจากสงครามจบลง Schneider ก็หันมาทำธุรกิจในอุตสาหกรรมที่กำลังเป็นที่ต้องการ อย่างธุรกิจโรงไฟฟ้า และซีเมนต์
ทุกอย่างดูไปได้สวย แต่จุดพลิกผันก็มาถึงอีกครั้ง เมื่อรัฐบาลฝรั่งเศส มีคำสั่งให้อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ เป็นของชาติ
นั่นก็เลยทำให้โรงงานผลิตอาวุธของ Schneider ถูก Takeover โดยรัฐทันที บริษัทก็เลยต้องหันมาโฟกัสกับธุรกิจที่เหลืออยู่
แต่ด้วยความที่ธุรกิจส่วนใหญ่ของบริษัท เป็นธุรกิจที่ต้องใช้เงินลงทุน ผลตอบแทนน้อย อีกทั้งตอนนั้นบริษัทยังได้รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจ การฟื้นตัวก็เลยไม่ได้ทำได้ง่าย ๆ
ซ้ำร้ายไปกว่านั้น คุณ Charles Schneider ที่เป็นทายาท และประธานบริษัทในช่วงปี 1942 ถึง 1960 ก็ดันเสียชีวิตลงกะทันหัน และก็ไม่ได้เตรียมทายาทคนต่อไปเอาไว้..
กลุ่มครอบครัว Empain ชาวเบลเยียม ที่ทำธุรกิจคล้ายกัน ก็เลยเห็นโอกาสในการเข้าซื้อกิจการของ Schneider ก่อนจะควบรวมธุรกิจ เป็นบริษัทที่ชื่อว่า Empain-Schneider ในเวลาต่อมา
แต่การเข้ามาของครอบครัว Empain ก็ยังไม่ทำให้บริษัทพลิกฟื้นกลับมาได้ ถึงแม้บริษัทจะพยายามไปลงทุนในธุรกิจใหม่ เช่น ธุรกิจเสื้อกันหนาว หรือธุรกิจอุปกรณ์สกี
จนสุดท้ายการปรับเปลี่ยนครั้งสำคัญก็มาถึง เมื่อบริษัทแต่งตั้งคุณ Didier Pineau-Valencienne ขึ้นมาเป็น CEO
โดยคุณ Didier ได้ตัดสินใจเลิกทำธุรกิจที่ไม่ทำกำไร ไม่ว่าจะเป็น ธุรกิจเหล็ก และธุรกิจต่อเรือ และหันมาโฟกัสกับธุรกิจพลังงานไฟฟ้าแทน
พอหลังจากสถานะทางการเงินของบริษัทเริ่มดีขึ้น คุณ Didier ก็เริ่มเข้าซื้อกิจการเพื่อทำธุรกิจพลังงานไฟฟ้าเต็มรูปแบบ มีดีลสำคัญ ๆ อย่างเช่น
- Merlin Gerin บริษัทผู้นำด้านการผลิตเบรกเกอร์ตัดไฟ
- Square D บริษัทผลิตอุปกรณ์สำหรับจ่ายไฟ และอุตสาหกรรม
- Telemecanique บริษัทผู้นำด้านระบบควบคุมในอุตสาหกรรม
- Square D บริษัทผลิตอุปกรณ์สำหรับจ่ายไฟ และอุตสาหกรรม
- Telemecanique บริษัทผู้นำด้านระบบควบคุมในอุตสาหกรรม
ซึ่งสุดท้ายแล้ว ส่วนผสมทั้งหมดนี้ก็ได้ทำให้ Empain-Schneider กลายเป็น Schneider Electric ในปัจจุบัน
และตอนนี้ Schneider Electric กลายเป็นบริษัทผู้นำด้านการวางระบบไฟฟ้า สำหรับอาคาร บ้าน และ Data Centers ไปจนถึงระบบอัตโนมัติทางด้านอุตสาหกรรม
ต่อไปเราลองมาดูรายได้ กำไร ของ Schneider Electric กันบ้าง
ปี 2021 รายได้ 1,137,000 ล้านบาท กำไร 126,000 ล้านบาท
ปี 2022 รายได้ 1,344,000 ล้านบาท กำไร 137,000 ล้านบาท
ปี 2023 รายได้ 1,412,000 ล้านบาท กำไร 157,000 ล้านบาท
ปี 2022 รายได้ 1,344,000 ล้านบาท กำไร 137,000 ล้านบาท
ปี 2023 รายได้ 1,412,000 ล้านบาท กำไร 157,000 ล้านบาท
ปัจจุบัน Schneider Electric มีมูลค่าบริษัท 5,103,000 ล้านบาท
โดยราคาหุ้น มีการปรับตัวขึ้นมาตลอด
- 1 ปีย้อนหลัง +43%
- 5 ปีย้อนหลัง +201%
โดยราคาหุ้น มีการปรับตัวขึ้นมาตลอด
- 1 ปีย้อนหลัง +43%
- 5 ปีย้อนหลัง +201%
แล้วบทเรียนจาก Schneider Electric บอกอะไรกับเราได้บ้าง ?
เรื่องทั้งหมดนี้จะเกิดขึ้นไม่ได้เลย และบริษัทก็คงไม่มีอายุมาถึง 188 ปีได้
หากธุรกิจไม่มีการแสวงหาโอกาส และขยายธุรกิจอยู่เสมอ
หากธุรกิจไม่มีการแสวงหาโอกาส และขยายธุรกิจอยู่เสมอ
แต่ถ้าทำผิดพลาด ต้องยอมรับ และลุกขึ้นให้เร็ว
ซึ่งก็ต้องมาพร้อมกับผู้นำ หรือ CEO ที่รู้ว่า ควรทำอะไร และไม่ควรทำอะไร
CEO ที่พร้อมเปิดรับโอกาสใหม่ ๆ แต่ในขณะเดียวกัน ก็ตัดสินใจเด็ดขาด ยอมตัดขา ละทิ้งธุรกิจที่ไม่ทำกำไร แล้วหันมาโฟกัสในธุรกิจที่ตนถนัด และคุ้มค่ากับการลงทุน..
—-----------------------
ซึ่ง Schneider Electric เป็นหนึ่งในหุ้น ที่อยู่ใน MEGA10EURO
ซึ่ง Schneider Electric เป็นหนึ่งในหุ้น ที่อยู่ใน MEGA10EURO
“MEGA10EURO เปิดจอง IPO”
ร่วมเป็นเจ้าของ 10 บริษัททรงอิทธิพลในยูโรโซน กับ MEGA10EURO
- กองทุนเปิด MEGA10EURO ชนิดสะสมมูลค่า (MEGA10EURO-A) ชนิดเพื่อการออม (MEGA10EURO-SSF) และกองทุนเปิด MEGA10EURO เพื่อการเลี้ยงชีพ (MEGA10EURORMF) เป็นกองทุนที่จะเข้าไปลงทุนในบริษัทที่อยู่ใน Euro Stoxx 50 ดัชนีหุ้นบริษัทขนาดใหญ่ในกลุ่มประเทศยูโรโซน
ร่วมเป็นเจ้าของ 10 บริษัททรงอิทธิพลในยูโรโซน กับ MEGA10EURO
- กองทุนเปิด MEGA10EURO ชนิดสะสมมูลค่า (MEGA10EURO-A) ชนิดเพื่อการออม (MEGA10EURO-SSF) และกองทุนเปิด MEGA10EURO เพื่อการเลี้ยงชีพ (MEGA10EURORMF) เป็นกองทุนที่จะเข้าไปลงทุนในบริษัทที่อยู่ใน Euro Stoxx 50 ดัชนีหุ้นบริษัทขนาดใหญ่ในกลุ่มประเทศยูโรโซน
โดยคัดเลือกมาจากบริษัท ที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด (Market Capitalization) สูง และมีสภาพคล่องสูง จำนวน 10 บริษัท เช่น LVMH, Hermès, Inditex (เจ้าของ Zara) และ EssilorLuxottica*
*บริษัทดังกล่าวสามารถปรับเปลี่ยนได้ ตามเกณฑ์การลงทุนและสภาวะการลงทุน ณ ขณะนั้น
MEGA10EURO-A เหมาะสำหรับผู้ลงทุนที่ต้องการผลตอบแทนผ่านการเพิ่มมูลค่าของหน่วยลงทุนเป็นหลัก (Total Return)
MEGA10EURO-SSF เหมาะสำหรับผู้ลงทุนที่ต้องการออมเงินระยะยาว
MEGA10EURORMF เหมาะสำหรับผู้ลงทุนที่ต้องการออมเงินเพื่อวัยเกษียณ
MEGA10EURO-SSF เหมาะสำหรับผู้ลงทุนที่ต้องการออมเงินระยะยาว
MEGA10EURORMF เหมาะสำหรับผู้ลงทุนที่ต้องการออมเงินเพื่อวัยเกษียณ
สำหรับผู้ที่สนใจ สามารถศึกษารายละเอียดและเริ่มต้นลงทุนได้ที่ บลจ.ทาลิส 02-0150215, 02-0150216, 02-0150222 หรือ www.talisam.co.th และผู้สนับสนุนการขายหลายราย
ผู้สนับสนุนการขาย ได้แก่
1. บริษัทหลักทรัพย์นายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุน ฟินโนมีนา จำกัด
2. บริษัทหลักทรัพย์ อินโนเวสท์ เอกซ์ จำกัด
3. บริษัทหลักทรัพย์ เคเคพี ไดม์ จำกัด
4. บริษัทหลักทรัพย์ ฟินันเซีย ไซรัส จำกัด (มหาชน)
5. บริษัทหลักทรัพย์ กรุงศรี จำกัด (มหาชน)
6. บริษัทหลักทรัพย์ บัวหลวง จำกัด (มหาชน)
7. บริษัทหลักทรัพย์ กสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
8. บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เมอร์ชั่น พาร์ทเนอร์ จำกัด
9. บริษัทหลักทรัพย์ ดาโอ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
10. บริษัทหลักทรัพย์ ดีบีเอส วิคเคอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด
2. บริษัทหลักทรัพย์ อินโนเวสท์ เอกซ์ จำกัด
3. บริษัทหลักทรัพย์ เคเคพี ไดม์ จำกัด
4. บริษัทหลักทรัพย์ ฟินันเซีย ไซรัส จำกัด (มหาชน)
5. บริษัทหลักทรัพย์ กรุงศรี จำกัด (มหาชน)
6. บริษัทหลักทรัพย์ บัวหลวง จำกัด (มหาชน)
7. บริษัทหลักทรัพย์ กสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
8. บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เมอร์ชั่น พาร์ทเนอร์ จำกัด
9. บริษัทหลักทรัพย์ ดาโอ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
10. บริษัทหลักทรัพย์ ดีบีเอส วิคเคอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด
11. บริษัทหลักทรัพย์ เกียรตินาคินภัทร จำกัด (มหาชน)
12. บริษัทหลักทรัพย์ ทรีนีตี้ จำกัด
13. บริษัทหลักทรัพย์นายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุน โรโบเวลธ์ จำกัด
14. บริษัทหลักทรัพย์ ฟิลลิป จำกัด (มหาชน)
15. บริษัทหลักทรัพย์ พาย จำกัด (มหาชน)
16. บริษัทหลักทรัพย์นายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุน แอสเซนด์ เวลธ์ จำกัด
17. บริษัทหลักทรัพย์ที่ปรึกษาการลงทุน เทรเชอริสต์ จำกัด
18. บริษัทหลักทรัพย์ หยวนต้า (ประเทศไทย) จำกัด
19. บริษัทหลักทรัพย์ ธนชาต จำกัด (มหาชน)
20. บริษัทหลักทรัพย์ สยามเวลธ์ จำกัด
12. บริษัทหลักทรัพย์ ทรีนีตี้ จำกัด
13. บริษัทหลักทรัพย์นายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุน โรโบเวลธ์ จำกัด
14. บริษัทหลักทรัพย์ ฟิลลิป จำกัด (มหาชน)
15. บริษัทหลักทรัพย์ พาย จำกัด (มหาชน)
16. บริษัทหลักทรัพย์นายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุน แอสเซนด์ เวลธ์ จำกัด
17. บริษัทหลักทรัพย์ที่ปรึกษาการลงทุน เทรเชอริสต์ จำกัด
18. บริษัทหลักทรัพย์ หยวนต้า (ประเทศไทย) จำกัด
19. บริษัทหลักทรัพย์ ธนชาต จำกัด (มหาชน)
20. บริษัทหลักทรัพย์ สยามเวลธ์ จำกัด
21. บริษัทหลักทรัพย์ ซีจีเอส อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด
22. บริษัทหลักทรัพย์ ไพน์ เวลท์ โซลูชั่น จำกัด
23. บริษัทหลักทรัพย์ เอเอสแอล จำกัด
24. บริษัทหลักทรัพย์ เว็ลธ์ เมจิก จำกัด
25. บริษัทหลักทรัพย์ ยูโอบี เคย์เฮียน (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
26. บริษัทหลักทรัพย์ ลิเบอเรเตอร์ จำกัด
27. ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
28. บริษัทหลักทรัพย์ บลูเบลล์ จำกัด
29. บริษัทหลักทรัพย์ เมย์แบงก์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
22. บริษัทหลักทรัพย์ ไพน์ เวลท์ โซลูชั่น จำกัด
23. บริษัทหลักทรัพย์ เอเอสแอล จำกัด
24. บริษัทหลักทรัพย์ เว็ลธ์ เมจิก จำกัด
25. บริษัทหลักทรัพย์ ยูโอบี เคย์เฮียน (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
26. บริษัทหลักทรัพย์ ลิเบอเรเตอร์ จำกัด
27. ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
28. บริษัทหลักทรัพย์ บลูเบลล์ จำกัด
29. บริษัทหลักทรัพย์ เมย์แบงก์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
ทั้งนี้ รายชื่อผู้สนับสนุนการขายหน่วยลงทุน อาจมีการปรับเปลี่ยนได้ และเป็นไปตามเงื่อนไขของผู้สนับสนุนการขายหน่วยลงทุน
คำเตือน: กองทุนรวมนี้มีลักษณะเฉพาะและความเสี่ยงเฉพาะ และการลงทุนในกองทุนรวมตราสารแห่งทุนอาจมีความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาหลักทรัพย์ ผู้ลงทุนควรทำความเข้าใจลักษณะ เงื่อนไขผลตอบแทนและความเสี่ยงของกองทุนรวมก่อนตัดสินใจลงทุน และควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่ระบุไว้ในคู่มือการลงทุนของกองทุน SSF และ RMF กรณีไม่ได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขทางภาษี จะไม่ได้สิทธิประโยชน์ตามเงื่อนไขของกองทุน
กองทุนนี้มีการลงทุนในต่างประเทศมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน และมีการลงทุนกระจุกตัวของหลักทรัพย์ และ หมวดอุตสาหกรรมและประเทศที่ลงทุน จึงมีความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนอาจสูญเสียเงินลงทุนจำนวนมาก
ผลการดำเนินงานในอดีต/ ผลการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ในตลาดทุน มิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต
╔═══════════╗
ภาวะเงินเฟ้อ ตลาดผันผวนแบบนี้ ติดตามข่าวเศรษฐกิจแบบเน้น ๆ จากหลายเพจได้ใน Blockdit - คอนเทนต์แพลตฟอร์มที่มีผู้ใช้งานเป็นประจำ 2 ล้านคน ลองใช้ฟรี blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
TikTok - tiktok.com/@longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงทุนแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
╔═══════════╗
ภาวะเงินเฟ้อ ตลาดผันผวนแบบนี้ ติดตามข่าวเศรษฐกิจแบบเน้น ๆ จากหลายเพจได้ใน Blockdit - คอนเทนต์แพลตฟอร์มที่มีผู้ใช้งานเป็นประจำ 2 ล้านคน ลองใช้ฟรี blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
TikTok - tiktok.com/@longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงทุนแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman