ธนาคาร ช่วยเหลือเศรษฐกิจกับธุรกิจในมุมไหนบ้าง?
ธนาคาร ช่วยเหลือเศรษฐกิจกับธุรกิจในมุมไหนบ้าง?
KBank x ลงทุนแมน
KBank x ลงทุนแมน
ภายใต้กลไกที่ขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ
หลายคนน่าจะคุ้นเคยกับนโยบายทางการเงิน ผ่านรูปแบบอัตราดอกเบี้ยมากที่สุด
หลายคนน่าจะคุ้นเคยกับนโยบายทางการเงิน ผ่านรูปแบบอัตราดอกเบี้ยมากที่สุด
เบื้องหลังจริง ๆ แล้วก็มีหลายปัจจัยที่ส่งผลกับเรื่องนี้ ไม่ว่าจะเป็น การขยายตัวทางเศรษฐกิจ, อัตราเงินเฟ้อ หรือเสถียรภาพของระบบการเงิน
ล่าสุด ธปท. ฉายภาพรวมเศรษฐกิจของประเทศไทยว่า กำลังฟื้นตัวดีขึ้น แต่ก็ยังไม่ทั่วถึง
สังเกตได้จากภาคการผลิต และภาคการส่งออก ที่มีตัวเลขเติบโตต่ำกว่าที่คาดการณ์
สังเกตได้จากภาคการผลิต และภาคการส่งออก ที่มีตัวเลขเติบโตต่ำกว่าที่คาดการณ์
ขณะที่อัตราเงินเฟ้อ แม้จะลดลง จากปัจจัยชั่วคราวด้านอุปทานจากมาตรการภาครัฐ
แต่ภาพรวมระยะยาวมองว่า ยังคงอยู่ในกรอบ 1-3%
แต่ภาพรวมระยะยาวมองว่า ยังคงอยู่ในกรอบ 1-3%
และแม้ว่า ระบบการเงินไทย จะยังคงรักษาเสถียรภาพได้ดี
แต่สิ่งที่ยังน่ากังวลก็คือ ปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง
แต่สิ่งที่ยังน่ากังวลก็คือ ปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง
ความละเอียดอ่อนทั้งหมดนี้ จึงถูกนำมาพิจารณาร่วมด้วย
เพราะหากปรับตัวอัตราดอกเบี้ยลงในช่วงนี้ แม้จะช่วยลดภาระดอกเบี้ยของลูกหนี้ได้
แต่ก็อาจจะกลายเป็นแรงกระเพื่อมที่ไปกระตุ้นให้เกิดการก่อหนี้ก้อนใหม่เพิ่มไปอีกได้ง่าย ๆ
ส่งผลให้ อัตราดอกเบี้ยนโยบาย 2.5% ถูกมองว่าเหมาะสมกับสถานการณ์เวลานี้
แต่ก็อาจจะกลายเป็นแรงกระเพื่อมที่ไปกระตุ้นให้เกิดการก่อหนี้ก้อนใหม่เพิ่มไปอีกได้ง่าย ๆ
ส่งผลให้ อัตราดอกเบี้ยนโยบาย 2.5% ถูกมองว่าเหมาะสมกับสถานการณ์เวลานี้
มาตรการดูแลลูกหนี้ จึงเป็นเรื่องสำคัญอันดับต้น ๆ ที่ ธปท. ให้ความสำคัญมาโดยตลอด
อย่างล่าสุด ธปท. ได้ออกเกณฑ์ Responsible Lending ในเรื่องการปรับโครงสร้างหนี้ให้ลูกหนี้ ทั้งก่อนและหลังเป็น NPL อย่างน้อย 1 ครั้ง
และการช่วยปิดหนี้เรื้อรังให้เร็วขึ้น ด้วยอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำลงไม่เกิน 15% ต่อปี
และการช่วยปิดหนี้เรื้อรังให้เร็วขึ้น ด้วยอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำลงไม่เกิน 15% ต่อปี
ซึ่งหนึ่งในตัวละครสำคัญของกลไกนี้ก็คือ ธนาคารพาณิชย์
ที่มีบทบาทสำคัญด้านเงินทุน ที่ช่วยพยุงฐานะการเงินของภาคธุรกิจ และความเป็นอยู่ของผู้คน
ขณะเดียวกัน ยังต้องบริหารความเสี่ยงจากการปล่อยสินเชื่อต่าง ๆ ของตนเองด้วย
ที่มีบทบาทสำคัญด้านเงินทุน ที่ช่วยพยุงฐานะการเงินของภาคธุรกิจ และความเป็นอยู่ของผู้คน
ขณะเดียวกัน ยังต้องบริหารความเสี่ยงจากการปล่อยสินเชื่อต่าง ๆ ของตนเองด้วย
ความน่าสนใจของเรื่องนี้เป็นอย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
เริ่มต้นกันด้วย การแบ่งเบาภาระหนี้ของลูกหนี้
ยกตัวอย่างให้เห็นภาพง่าย ๆ อย่างในช่วงวิกฤติโรคระบาดที่ผ่านมา KBank ได้ออกมาตรการพักชำระหนี้ และการลดอัตราดอกเบี้ย
เพื่อช่วยเหลือลูกค้าอย่างเร่งด่วน ทั้งลูกค้า SME ที่ต้องหยุดชะงัก และลูกค้ารายย่อย
ด้วยจำนวนลูกหนี้กว่า 1.6 ล้านคน ที่ KBank ช่วยเหลือในช่วงวิกฤติโรคระบาดปี 2563 มียอดสินเชื่อกว่า 428,000 ล้านบาท
เพื่อช่วยเหลือลูกค้าอย่างเร่งด่วน ทั้งลูกค้า SME ที่ต้องหยุดชะงัก และลูกค้ารายย่อย
ด้วยจำนวนลูกหนี้กว่า 1.6 ล้านคน ที่ KBank ช่วยเหลือในช่วงวิกฤติโรคระบาดปี 2563 มียอดสินเชื่อกว่า 428,000 ล้านบาท
จนมาถึงตัวเลข ณ ไตรมาส 3 ของปี 2566 จำนวนลูกหนี้ที่อยู่ในมาตรการช่วยเหลือแบบเบ็ดเสร็จของ KBank ยังคงมียอดสินเชื่อรวมกว่า 166,000 ล้านบาท
บทบาทการเป็นแหล่งเงินทุนอีกเรื่องก็คือ มาตรการเสริมสภาพคล่องสำหรับลูกค้าภาคธุรกิจ
เงินทุนหมุนเวียน กลายเป็นสิ่งจำเป็นอย่างมากในการขับเคลื่อนให้ภาคธุรกิจยังคงเดินหน้าต่อไปได้
อย่าง KBank เองก็เห็นความสำคัญของเรื่องนี้ และพร้อมจะสนับสนุนภาคธุรกิจมาโดยตลอด
ซึ่งแม้ว่าจะผ่านช่วงวิกฤติหนัก ๆ ไปแล้ว แต่การจะฟื้นตัวกลับมายืนใหม่ได้อีกครั้ง ก็ยังจำเป็นต้องใช้เงินทุน
ซึ่งแม้ว่าจะผ่านช่วงวิกฤติหนัก ๆ ไปแล้ว แต่การจะฟื้นตัวกลับมายืนใหม่ได้อีกครั้ง ก็ยังจำเป็นต้องใช้เงินทุน
ทีนี้ นับตั้งแต่ปี 2563 มาจนถึงตอนนี้ KBank พยายามเคลื่อนไหวด้วยมาตรการความช่วยเหลือที่เหมาะสมกับลูกค้าภาคธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็น
- สินเชื่อดอกเบี้ย 0% ตลอด 1 ปีแรก สำหรับธุรกิจ SME ที่ชะลอตัว ช่วยรักษาการจ้างงานเป็นจำนวนมาก
- สินเชื่อดอกเบี้ย 1% ตลอด 5 ปีแรก สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว ที่ต้องหยุดชะงักจากวิกฤติโรคระบาด
- สินเชื่อดอกเบี้ย 2% ในช่วง 2-5 ปีแรก สำหรับธุรกิจขนาดเล็กที่มีศักยภาพ ช่วยลดภาระต้นทุน
- สินเชื่อไม่เกิน 1 ล้านบาท สำหรับลูกค้ารายย่อย ช่วยเพิ่มโอกาสการเข้าถึงสินเชื่อที่มากขึ้น
- สินเชื่อดอกเบี้ย 1% ตลอด 5 ปีแรก สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว ที่ต้องหยุดชะงักจากวิกฤติโรคระบาด
- สินเชื่อดอกเบี้ย 2% ในช่วง 2-5 ปีแรก สำหรับธุรกิจขนาดเล็กที่มีศักยภาพ ช่วยลดภาระต้นทุน
- สินเชื่อไม่เกิน 1 ล้านบาท สำหรับลูกค้ารายย่อย ช่วยเพิ่มโอกาสการเข้าถึงสินเชื่อที่มากขึ้น
สะท้อนได้ว่า KBank อยู่เคียงข้างลูกค้ารายย่อยและกลุ่มเปราะบาง ตลอดจนผู้ประกอบการ SME ที่ยังเผชิญกับผลกระทบจากเศรษฐกิจที่ยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่
ขณะเดียวกัน ยังจำเป็นต้องบริหารความเสี่ยงจากการปล่อยสินเชื่อของตนเองด้วย
ขณะเดียวกัน ยังจำเป็นต้องบริหารความเสี่ยงจากการปล่อยสินเชื่อของตนเองด้วย
ซึ่งโดยปกติแล้ว ธนาคารก็มีต้นทุนในการดำเนินธุรกิจไม่ต่างจากอุตสาหกรรมอื่น ๆ
หนึ่งในนั้นก็คือ ต้นทุนความเสี่ยงจากการให้สินเชื่อ เช่น เงินสำรองที่ธนาคารกันไว้ (Provision)
หนึ่งในนั้นก็คือ ต้นทุนความเสี่ยงจากการให้สินเชื่อ เช่น เงินสำรองที่ธนาคารกันไว้ (Provision)
ภายใต้สถานการณ์ไม่ปกติ หลายธุรกิจได้รับผลกระทบไปตาม ๆ กัน
KBank ในฐานะเป็นสถาบันการเงิน และอยู่ในกลไกระบบการเงินหลักของประเทศ ก็กำลังสะท้อนหน้าที่ของการเป็นแหล่งเงินทุนภายใต้สถานการณ์นี้ เช่นกัน..
KBank ในฐานะเป็นสถาบันการเงิน และอยู่ในกลไกระบบการเงินหลักของประเทศ ก็กำลังสะท้อนหน้าที่ของการเป็นแหล่งเงินทุนภายใต้สถานการณ์นี้ เช่นกัน..